Personal Data Protection Act หรือ PDPA พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ข้อมูลส่วนบุคคลภายใต้การคุ้มครองของ PDPA มีอะไรบ้าง ?
ทุกวันนี้ระบบดิจิทัลหรือระบบเครือข่ายออนไลน์กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำ
เพื่อเพิ่มความมั่นใจ และความปลอดภัยให้กับผู้เข้าใช้งานในการตัดสินใจให้ข้อมูล ส่วนบุคคล โดยกฎหมายนี้ไม่เพียงแต่จะคุ้มครอง ข้อมูลส่วนบุคคลทั่วไป เท่านั้น แต่ยังคุ้มครองไปถึง ข้อมูลส่วนบุคคลที่มีความอ่อนไหว (Sensitive Data) อีกด้วย
ข้อมูลส่วนบุคคลทั่วไป
- ชื่อ - นามสกุล
- เบอร์โทรศัพท์ อีเมลส่วนตัว ที่อยู่ปัจจุบัน
- วัน เดือน ปีเกิด
- สัญชาติ
- น้ำหนัก ส่วนสูง
- เลขบัตรประชาชน
- เลขหนังสือเดินทาง
- เลขใบอนุญาตขับขี่
- ข้อมูลทางการศึกษา
- ทะเบียนบ้าน
- ทะเบียนรถยนต์
- ข้อมูลอื่นๆ บนอินเทอร์เน็ตที่สามารถระบุตัวตนได้ เช่น Username,Password,Cookies IP address
ข้อมูลส่วนบุคคลที่มีความอ่อนไหว (Sensitive Data)
- เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์
- ความคิดเห็นทางการเมือง
- ความเชื่อในลัทธิ ศาสนา
- พฤติกรรมทางเพศ
- ประวัติอาชญากรรม
- ข้อมูลด้านสุขภาพ ความพิการ เช่น โรคประจำตัว การฉีดวัคซีน
- ข้อมูลสหภาพแรงงาน
- ข้อมูลพันธุกรรม
- ข้อมูลชีวภาพ เช่น ลายนิ้วมือ แบบจำลองใบหน้า
บทลงโทษหากไม่ปฎิบัติตาม PDPA
- โทษทางอาญา : จำคุกสูงสุดไม่เกิน 6 เดือนถึง 1 ปี หรือปรับสูงสุดไม่เกิน 500,000 ถึง 1 ล้านปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
- โทษทางแพ่ง : ค่าสินไหมทดแทน + ค่าสินไหมเพื่อการลงโทษอีกไม่เกิน 2 เท่า
- โทษทางปกครอง : ปรับไม่เกิน 1,2,3 ล้านบาท